พันธะไอออนิกเป็นพันธะที่เกิดระหว่างอะตอมของโลหะยึดเหนี่ยวกับอะตอมของอโลหะ อะตอมของโลหะเป็นตัวให้อิเล็กตรอนเกิดเป็นอนุภาคที่มีประจุบวก เรียกว่า ไอออนบวก อะตอมของอโลหะเป็นตัวรับอิเล็กตรอนเกิดเป็นอนุภาคที่มีประจุลบ
เรียกว่า ไอออนลบ ทั้งไอออนบวกและไอออนลบจะเกิดแรงดึงดูดซึ่งกันและกันด้วยอำนาจของประจุไฟฟ้าเกิดพันธะเคมี เรียกว่า พันธะไอออนิก
สารประกอบที่เกิดขึ้นจากแรงยึดเหนี่ยวด้วยพันธะไอออนิก เรียกว่า สารประกอบไอออนิก ซึ่งประกอบด้วยไอออนบวกกับไอออนลบ ดึงดูดกันด้วยอำนาจของประจุไฟฟ้าอะตอมของโลหะเมื่อให้อิเล็กตรอนจะเปลี่ยนเป็นไอออนบวก มีค่าประจุไฟฟ้าเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอนที่ให้
ธาตุโลหะ |
สัญลักษณ์ |
การจัดเรียง
อิเล็กตรอน |
จำนวน
อิเล็กตรอนที่ให้ |
การจัดเรียงอิเล็กตรอนใหม่ |
ไอออน |
ลิเทียม |
Li |
2,1 |
1 |
2 |
Li+ |
โพแทสเซียม |
K |
2,8,8,1 |
1 |
2,8,8 |
K+ |
แมกนีเซียม |
Mg |
2,8,2 |
2 |
2,8 |
Mg2+ |
แคลเซียม |
Ca |
2,8,8,2 |
2 |
2,8,8 |
Ca2+ |
อะ ตอมของโลหะที่รับอิเล็กตรอนเกิดเป็นไอออนลบมีค่าประจุไฟฟ้าลบเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอนที่รับ
ธาตุโลหะ |
สัญลักษณ์ |
การจัดเรียง
อิเล็กตรอน |
จำนวนอิเล็กตรอนที่ได้รับ |
การจัดเรียง
อิเล็กตรอนใหม่ |
ไอออน |
ฟลูออรีน |
F |
2,7 |
1 |
2,8 |
F+ |
คลอรีน |
Cl |
2,8,7 |
1 |
2,8,8 |
Cl- |
ออกซิเจน |
O |
2,6 |
2 |
2,8 |
O2- |
กำมะถัน |
S |
2,8,6 |
2 |
2,8,8 |
S2- |
ไนโตรเจน |
N |
2,5 |
3 |
2,8 |
N3- |
สารประกอบไอออนิกเกิดจากธาตุที่เป็นองค์ประกอบ 2 ธาตุ หรือมากกว่าก็ได้ มาสร้างพันธะกัน เขียนสัญลักษณ์แทนสารประกอบเรียกว่า สูตรเคมี สารประกอบไอออนิกจะเขียนแสดงอัตราส่วนอย่างต่ฎของจำนวนไอออนบวกกับไอออนลที่มาร่วมสรา้งพันธะเรียกว่า สูตรเอมพิริคัล ผลรวมของประจุไฟฟ้าในสารประกอบมีค่าเป็นศูนย์
ชื่อสารประกอบไอออนิก |
สูตรสารประกอบ |
ไอออนที่เป็นองค์ประกอบ |
ไอออนบวก |
ไอออนลบ |
1.โซเดียมคลอไรด์ |
NaCl |
Na+ |
Cl+ |
2.โซเดียมคาร์บอเนต(โซดาแอช) |
Na2CO3 |
Na+ |
CO2- |
3.โซเดียมไฮดรอกไซด์(โซดาไฟ) |
NaOH |
Na+ |
OH- |
4.แคลเซียมอออกไซด์ |
CaO |
Ca2+ |
O2- |
5.แมกนีเซียมไนไตรด์ |
Mg3N2 |
Mg2+ |
N3- |
6.แคลเซียมคาร์บอเนต (หินปูน) |
CaCO3 |
Ca2+ |
Co2- |
|